ค้นหาสินค้า

กล้วยไม้

ขายต้นกล้วยไม้ ดอกกล้วยไม้ราคาถูก การปลูก วิธีดูแล และการขยายพันธุ์กล้วยไม้ ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อสามัญ ลักษณะและสรรพคุณ

ต้นกล้วยไม้

ต้นกล้วยไม้ สวนป้าแตงคลอง 15
ต้นกล้วยไม้ สวนป้าแตงคลอง 15 นครนายก

ราคา 50.00 บาท /กระถาง

ต้นกล้วยไม้ม๊อคคาร่าชมพู
ต้นกล้วยไม้ม๊อคคาร่าชมพู กรุงเทพมหานคร

ราคา 35.00 บาท /ต้น

ต้นกล้วยไม้
ต้นกล้วยไม้ เมืองนครราชสีมา นครราชสีมา

ราคา 950.00 บาท /กระถาง

ต้นกล้วยไม้
ต้นกล้วยไม้ เมืองสกลนคร สกลนคร

ราคา 60.00 บาท

 ต้นกล้วยไม้
ต้นกล้วยไม้ นครนายก

ราคา 50.00 บาท /ต้น

		 ต้นกล้วยไม้
ต้นกล้วยไม้ ปทุมธานี

ราคา 50.00 บาท /กระถาง

กล้วยไม้เหลืองจันท์(ติดขอน)
กล้วยไม้เหลืองจันท์(ติดขอน) เมืองระยอง ระยอง

ราคา 1,200.00 บาท

แคทลียา หาดใหญ่ ดีไลน์
แคทลียา หาดใหญ่ ดีไลน์ หนองคาย

ราคา 150.00 บาท

กล้วยไม้ป่า
กล้วยไม้ป่า พระประแดง สมุทรปราการ

ราคา 400.00 บาท

กล้วยไม้แวนด้า
กล้วยไม้แวนด้า ปทุมธานี

ราคา 200.00 บาท /ต้น

(1กำ) ดอก ต้น เขาแกะ กล้วยไม้
(1กำ) ดอก ต้น เขาแกะ กล้วยไม้ เมืองมหาสารคาม มหาสารคาม

ราคา 149.00 บาท /ต้น

กล้วยไม้หางช้างดอกสีเหลือง
กล้วยไม้หางช้างดอกสีเหลือง ทับสะแก ประจวบคีรีขันธ์

ช้างแดง  ต้นที่ 1
ช้างแดง ต้นที่ 1 มีนบุรี กรุงเทพมหานคร

ราคา 150.00 บาท

ขายพันธุ์กล้วยไม้ (ม็อคคาล่า) สีเหลือง
ขายพันธุ์กล้วยไม้ (ม็อคคาล่า) สีเหลือง หนองจอก กรุงเทพมหานคร

ราคา 100.00 บาท

กล้วยไม้พันธุ์ช้างวุฒิพันธ์
กล้วยไม้พันธุ์ช้างวุฒิพันธ์ คลองสามวา กรุงเทพมหานคร

ราคา 170.00 บาท /ต้น

เพชรหึง
เพชรหึง บางละมุง ชลบุรี

ราคา 22,000.00 บาท

จับกวน
จับกวน สามพราน นครปฐม

ราคา 25.00 บาท

กล้วยไม้ ฟาแลนนอปซิส
กล้วยไม้ ฟาแลนนอปซิส กรุงเทพมหานคร

ราคา 700.00 บาท

ต้นเพชรหึงษ์
ต้นเพชรหึงษ์ ท่ายาง เพชรบุรี

ราคา 2,500.00 บาท /กอ

กระเรกระร่อน
กระเรกระร่อน สามร้อยยอด ประจวบคีรีขันธ์

ราคา 200.00 บาท

กล้วยไม้
กล้วยไม้ ถลาง ภูเก็ต

ราคา 50.00 บาท /กระถาง

แคทลียาลูกผสม
แคทลียาลูกผสม กรุงเทพมหานคร

ราคา 80.00 บาท

กล้วยไม้ กล้วยไม้ขวด สกุลช้าง
กล้วยไม้ กล้วยไม้ขวด สกุลช้าง วัฒนา กรุงเทพมหานคร

ราคา 250.00 บาท

กล้วยไม้ซิมบิเดียม
กล้วยไม้ซิมบิเดียม หนองแขม กรุงเทพมหานคร

ราคา 1,500.00 บาท

คาตาเซตั้ม
คาตาเซตั้ม เหนือคลอง กระบี่

ราคา 390.00 บาท

เอื้องสายเสริฐ
เอื้องสายเสริฐ สามพราน นครปฐม

ราคา 250.00 บาท

กล้วยไม้พันธุ์มิสทีน
กล้วยไม้พันธุ์มิสทีน กรุงเทพมหานคร

ราคา 15.00 บาท /กำ

จังหวัดที่ขายต้นกล้วยไม้

กระบี่ (2 ร้าน)

กรุงเทพมหานคร (39 ร้าน)

กาญจนบุรี (4 ร้าน)

กาฬสินธุ์ (1 ร้าน)

กำแพงเพชร (1 ร้าน)

จันทบุรี (7 ร้าน)

ฉะเชิงเทรา (2 ร้าน)

ชลบุรี (4 ร้าน)

ชัยภูมิ (1 ร้าน)

ชุมพร (5 ร้าน)

เชียงราย (2 ร้าน)

เชียงใหม่ (16 ร้าน)

ตรัง (2 ร้าน)

ตราด (1 ร้าน)

ตาก (1 ร้าน)

นครนายก (4 ร้าน)

นครปฐม (21 ร้าน)

นครราชสีมา (3 ร้าน)

นครศรีธรรมราช (2 ร้าน)

นครสวรรค์ (3 ร้าน)

นนทบุรี (5 ร้าน)

ปทุมธานี (6 ร้าน)

ประจวบคีรีขันธ์ (9 ร้าน)

ปราจีนบุรี (3 ร้าน)

พระนครศรีอยุธยา (3 ร้าน)

พังงา (1 ร้าน)

พัทลุง (5 ร้าน)

เพชรบุรี (2 ร้าน)

ภูเก็ต (2 ร้าน)

มหาสารคาม (2 ร้าน)

ร้อยเอ็ด (1 ร้าน)

ระยอง (3 ร้าน)

ราชบุรี (6 ร้าน)

ลพบุรี (2 ร้าน)

ลำปาง (2 ร้าน)

ลำพูน (3 ร้าน)

สกลนคร (1 ร้าน)

สงขลา (3 ร้าน)

สมุทรปราการ (4 ร้าน)

สมุทรสาคร (4 ร้าน)

สระแก้ว (2 ร้าน)

สระบุรี (2 ร้าน)

สิงห์บุรี (1 ร้าน)

สุรินทร์ (2 ร้าน)

หนองคาย (3 ร้าน)

อุดรธานี (2 ร้าน)

อุบลราชธานี (1 ร้าน)

ดูสินค้าหมวด ต้นกล้วยไม้ ทั้งหมดในเว็บ

เมล็ดพันธุ์กล้วยไม้

ฝักกล้วยไม้
ฝักกล้วยไม้ จอมทอง กรุงเทพมหานคร

ราคา 100.00 บาท

จังหวัดที่ขายเมล็ดพันธุ์กล้วยไม้

กรุงเทพมหานคร (1 ร้าน)

ดูสินค้าหมวด เมล็ดพันธุ์กล้วยไม้ ทั้งหมดในเว็บ

ต้นกล้ากล้วยไม้

จำหน่าย ไม้นิ้วบอมเอียสกุล
จำหน่าย ไม้นิ้วบอมเอียสกุล กรุงเทพมหานคร

ราคา 10.00 บาท

หางช้างต้นเล็ก
หางช้างต้นเล็ก ทับสะแก ประจวบคีรีขันธ์

ไม้ขวด ช้างเผือก PD
ไม้ขวด ช้างเผือก PD วัฒนา กรุงเทพมหานคร

ราคา 250.00 บาท /ต้น

#เหลืองปราจีน
#เหลืองปราจีน อุบลราชธานี

ราคา -200.00 บาท

กล้วยไม้หวาย สามปาก ต้นนิ้ว
กล้วยไม้หวาย สามปาก ต้นนิ้ว บางเลน นครปฐม

ราคา 10.00 บาท

#หวายหูบิด กระถางละ 170 บาท ค่ะ  สนใจสอบถามได้นะคะ
#หวายหูบิด กระถางละ 170 บาท ค่ะ สนใจสอบถามได้นะคะ กันทรวิชัย มหาสารคาม

ราคา 170.00 บาท

กล้วยไม้นิ้วเกรดA++(สำหรับส่งออก)
กล้วยไม้นิ้วเกรดA++(สำหรับส่งออก) เมืองนครปฐม นครปฐม

ราคา 390.00 บาท /30 ต้น 390 บาท / 100 ต้น 990 บาท

Mini GrowMe
Mini GrowMe กรุงเทพมหานคร

ไม้นิ้ว ลูกผสมกุหลาบเวียดนาม X หนวดพราหมณ์
ไม้นิ้ว ลูกผสมกุหลาบเวียดนาม X หนวดพราหมณ์ เมืองนนทบุรี นนทบุรี

ราคา 25.00 บาท

ฟาแลนนอปซิส กระถาง2.5"
ฟาแลนนอปซิส กระถาง2.5" บางใหญ่ นนทบุรี

ราคา 35.00 บาท /กระถาง

กล้วยไม้นิ้วแวนด้า มีทั้งสีบลู สีแดง
กล้วยไม้นิ้วแวนด้า มีทั้งสีบลู สีแดง ท่ามะกา กาญจนบุรี

ราคา 35.00 บาท

แคทลียาไม้นิ้ว
แคทลียาไม้นิ้ว สามพราน นครปฐม

ราคา 50.00 บาท

พันธุ์กล้วยไม้ปลอดเชื้อ
พันธุ์กล้วยไม้ปลอดเชื้อ ไทรน้อย นนทบุรี

ราคา 150.00 บาท

สายม่วงขวด
สายม่วงขวด เมืองหนองคาย หนองคาย

ราคา 250.00 บาท

ไม้นิ้วแกรมมาโต
ไม้นิ้วแกรมมาโต สามพราน นครปฐม

ราคา 20.00 บาท

กล้วยไม้ฟาแลน 1.5 นิ้ว
กล้วยไม้ฟาแลน 1.5 นิ้ว ปะทิว ชุมพร

ราคา 35.00 บาท

ไม้ขวด ช้างแดง (ปิดการจำหน่ายครับ)
ไม้ขวด ช้างแดง (ปิดการจำหน่ายครับ) สมุทรปราการ

ราคา 200.00 บาท

ไม้ขวด เอียสกุล
ไม้ขวด เอียสกุล บางเลน นครปฐม

ราคา 130.00 บาท /ขวด

กล้วยไม้นิ้ว
กล้วยไม้นิ้ว วัฒนา กรุงเทพมหานคร

ราคา 35.00 บาท

กล้วยไม้นิ้ว
กล้วยไม้นิ้ว นครชัยศรี นครปฐม

ราคา 5.00 บาท

ไม้นิ้วเขากวางงเผือก
ไม้นิ้วเขากวางงเผือก เหนือคลอง กระบี่

ราคา 100.00 บาท

ไม้นิ้วหวายเอียสกุล
ไม้นิ้วหวายเอียสกุล พุทธมณฑล นครปฐม

ราคา 7.00 บาท /ต้น

ช้างแดง
ช้างแดง กระทุ่มแบน สมุทรสาคร

รองเท้านารี ไม้ขวด ต้นกล้างาม +++ 1200 +++
รองเท้านารี ไม้ขวด ต้นกล้างาม +++ 1200 +++ ปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

ราคา 1,200.00 บาท

เอื้องสายสุคนธ์ด่าง
เอื้องสายสุคนธ์ด่าง ห้วยยอด ตรัง

ราคา 2,500.00 บาท

จังหวัดที่ขายต้นกล้ากล้วยไม้

กระบี่ (1 ร้าน)

กรุงเทพมหานคร (7 ร้าน)

กาญจนบุรี (2 ร้าน)

จันทบุรี (2 ร้าน)

ชัยนาท (1 ร้าน)

ชุมพร (1 ร้าน)

เชียงใหม่ (3 ร้าน)

ตรัง (1 ร้าน)

นครปฐม (10 ร้าน)

นนทบุรี (3 ร้าน)

ปทุมธานี (2 ร้าน)

ประจวบคีรีขันธ์ (1 ร้าน)

มหาสารคาม (1 ร้าน)

ราชบุรี (1 ร้าน)

ลพบุรี (1 ร้าน)

สมุทรปราการ (2 ร้าน)

สมุทรสาคร (1 ร้าน)

หนองคาย (1 ร้าน)

อุบลราชธานี (1 ร้าน)

ดูสินค้าหมวด ต้นกล้ากล้วยไม้ ทั้งหมดในเว็บ

ลักษณะพฤกษศาสตร์ของกล้วยไม้ (3483)

ชื่อวิทยาศาสตร์:    Orchid
ชื่อวงศ์:    ORCHIDACEAE
ชื่อสามัญ:    Orchid
ชื่อพื้นเมือง:    เอื้อง (ภาคเหนือ)
ลักษณะทั่วไป:
    ต้น    ลำต้นของกล้วยไม้ไม่มีแก่นและเปลือก  เนื้อในเสมอกัน  ลำต้นมี 2 ลักษณะ คือ  ลำต้นแท้  มีข้อและปล้องเหมือนพืชใบเลี้ยงเดี่ยวทั่วไป  มีการเจริญเติบโตทางยอด  ลำต้นเทียมหรือลำลูกกล้วยไว้สะสมอาหาร  มีลำต้นเป็นเหง้า  มีข้อและปล้องถี่  เจริญในแนวนอนไปตามผิวของเครื่องปลูก  รากกลมอวบเป็นเส้นเล็กแข็งหรือแบนราบ  มีทั้งรากดิน  รากกึ่งดิน  รากกึ่งอากาศ  และรากอากาศ
    ใบ    เป็นใบเลี้ยงเดี่ยวมีลักษณะต่างกันออกไป  เช่น  รูปแถบ  รูปกลมยาว  หรือลดรูปเป็นเพียงเกล็ด  แผ่นใบบางคล้ายใบหมาก  หนาอวบน้ำ  หรือเป็นแท่งกลม  ส่วนมากแล้วไม่มีส่วนที่เป็นก้านใบชัดเจน  สีของใบเป็นสีเขียวสด  บางชนิดเป็นสีม่วงคล้ำ  บางชนิดก็มีลวดลาย
    ดอก    ออกที่ปลายลำต้น  ซอกใบหรือข้างลำต้น  ดอกเป็นดอกเดี่ยวหรือเป็นช่อ  แต่ละดอกมีกลีบเลี้ยง 3 กลีบเรียงสลับกันกับกลีบดอก 3 กลีบ  กลีบดอกอันล่างมีลักษณะต่างออกไปเรียกว่ากลีบปากหรือกลีบกระเป๋าไว้สำหรับ ล่อแมลง  ก้านเกสรตัวเมียและยอดเกสรตัวเมียเชื่อมติดกันกับเกสรตัวผู้เป็นเส้า เกสรอยู่กลางดอก  เกสรตัวผู้อยู่รวมกันเป็นก้อนเป็นกลุ่มเรณู  แต่ละอับเรณูมีฝาปิด  มี 2, 4 หรือ 8 ก้อนแล้วแต่ชนิดกล้วยไม้  ยอดเกสรตัวเมียอยู่ใต้อับเรณู  มีลักษณะเป็นเมือกเหนียว  รังไข่อยู่ตรงส่วนของก้านดอก  เมื่อได้รับการผสมจะเจริญไปเป็นเมล็ดต่อไป
    ฝัก/ผล    ฝัก กล้วยไม้ ภายในฝักมีเมล็ด กล้วยไม้มีอายุตั้งแต่ผสมเกสรไปจนถึงฝักแก่จะแตกต่างกันไปตามชนิดของกล้วย ไม้ร่วมกับสภาพสิ่งแวดล้อมและความสมบูรณ์ขององค์ประกอบในการเจริญงอกงามด้วย กล้วยไม้บางชนิดอาจจะฝักแก่ได้ในระยะเวลาเพียงเดือนกว่าเท่านั้น แต่มีกล้วยไม้บางชนิดซึ่งมีฝักอยู่กับต้นถึงปีครึ่งถึงจะแก่ ฝักกล้วยไม้ในประเภทไม่แตกกอ มักจะติดอยู่กับก้านในลักษณะตั้งเอาปลายชี้ขึ้น แต่ฝักกล้วยไม้ประเภท แตกกอมักจะห้อยปลายลงเป็นส่วนมาก เช่น ฝักของกล้วยไม้สกุลหวาย เป็นต้น แต่ละฝักมีเมล็ดเป็นจำนวนมาก ตั้งแต่ 1,600 – 4,000,000 เมล็ด
    เมล็ด    เมล็ดมีลักษณะเรียวยาวหรือป่องกลางคล้ายลูกรักบี้ เมล็ดมีขนาดเล็กมาก มีแต่คัพภะ แต่ไม่มีอาหารสะสมมีเปลือกบางๆ หุ้มเมล็ดอยู่ มีน้ำหนักเมล็ดประมาณ 0.003 – 0.0014 มิลลิกรัม มีสีแตกต่างกันไป เช่น น้ำตาล เทา เหลือง หรือขาว และด้วยเหตุที่เมล็ดกล้วยไม้มีขนาดเล็กมาก จึงอาจปลิวกระจายไปตามลมได้ง่ายและเป็นระยะทางไกล ๆ
ฤดูกาลออกดอก:    ขึ้นอยู่กับสายพันธุ์
การขยายพันธุ์:    แยกลำ, แยกหน่อ, ชำต้นและยอด, เลี้ยงเนื้อเยื่อ
ส่วนที่มีกลิ่นหอม:    ดอก ขึ้นอยู่กับสายพันธุ์
การใช้ประโยชน์:    ไม้ประดับสถานที่ เป็นสินค้าส่งออกที่สำคัญ โดยเฉพาะกล้วยไม้ตระกูลหวาย
ถิ่นกำเนิด:    ลาตินอเมริกา, เอเซียแปซิฟิค


ลักษณะของกล้วยไม้ว่านเพชรหึงษ์ (3487)

ชื่อวิทยาศาสตร์:    GRAMMATOPHYLLUM SPECIOSUM BL.
ชื่อสกุล:    Grammatophyllum
ตระกูล:    Orchidaceae
ชื่อสามัญ:    Tiger Orchid, Giant Orchid
ชื่อพื้นเมือง:    กล้วยไม้เพชรหึง,ว่านเพชรหึง,ว่านหางช้าง
ลักษณะทั่วไป:
    ต้น    เป็นกล้วยไม้อิงอาศัยที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ลำต้นใหญ่ยาวประมาณ 1 – 3 เมตร แตกหน่อเจริญเติบโตทางด้านข้างโดยมีเส้นผ่านศูนย์กลางต้น 3-5 เซนติเมตร
    ใบ    ใบรูปแถบจำนวนมาก  ะมีใบติดอยู่ที่ปลายลำลูกกล้วยเพียง 2-3 ใบ
    ดอก    ออกช่อดอกที่โคนต้น ก้านดอกยาว 1.5 - 2 เมตร ดอกจำนวนมาก ดอกทะยอยบานนานถึง 3 เดือน และชนิดออกดอกที่ปลายยอด ก้านดอกยาว 15 - 30 เซนติเมตร ช่อดอกยาวและตั้งตรง ดอกกว้าง 10 -15 เซนติเมตร ดอกก็จะมีทั้งดอกชนิดช่อตั้งและช่อห้อย โดยกลีบดอกนั้นจะหนา กลีบดอกมี 5 กลีบ สีเหลืองแกมเขียว มีจุดปะสีน้ำตาล บางชนิดมีจุดปะสีแดง (หายาก)
    ราก    ระบบรากอากาศ
ฤดูกาลออกดอก:    มิถุนายน ถึงตุลาคมของทุกปี
การขยายพันธุ์:    การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อจะเริ่มตั้งแต่การเพาะเมล็ดและการดูแลอย่างดีในห้องปลอดเชื้อ (ห้องแล็ป) เป็นระยะๆ จนกว่าต้นกล้าจะโตและแข็งแรง ก่อนที่จะนำออกมาเลี้ยงแบบธรรมชาติ ซึ่งใช้ระยะเวลาประมาณ 1 ปี จากนั้นก็นำมาปลูกเลี้ยงตามธรรมชาติจนกว่าอายุครบ 5 ปี ก็จะเริ่มออกดอกมาให้ชื่นชม
การปลูก:    นิยมปลูกลงในกระถางตามขนาดความใหญ่ของต้น หรือเกาะติดตอไม้ขนาดใหญ่ วัสดุปลูก กาบมะพร้าวแห้ง ถ่านไม้ ซากไม้ผุพัง บำรุงปุ๋ยคอกมูลสัตว์เก่า จะทำให้เจริญเติบโตได้ดี
การดูแลรักษา:    ควรให้อยู่ในที่โล่งแจ้ง หรือตั้งกลางแดดจ้าทั้งวัน จะทำให้ลำต้นแข็งแรง
ความสำคัญ:    เป็นกล้วยไม้ป่าที่หากยากและเป็นกล้วยไม้พันธุ์พืชสงวน


ลักษณะของกล้วยไม้ว่านร่อนทอง (3500)

ชื่อวิทยาศาสตร์:    Ludisia discolor   (Ker.-Gawl.) A. Rich.
ชื่อพ้อง:    Haemaria discolor   (Ker.-Gawl.) Lindl.
ตระกูล:    ORCHIDACEAE
ชื่อสามัญ:    Jewet Orchid
ชื่อพื้นเมือง:    ว่านร่อนทอง (สุราษฏร์ธานี); ผักเบี้ยช้าง;ว่านน้ำทอง
ลักษณะทั่วไป:
    ต้น    เป็นพืชล้มลุกเนื้ออ่อน ลักษณะเลื้อยไปตามพื้นผิวดินขึ้นไปตามใบไม้ผุ ซอกหิน และบนดิน รากแตกออกมาตามข้อต้นและใบอุ้มน้ำ ลำต้นหรือเถาเป็นสีแดงหรือสีชมพูอ่อน
    ใบ    รูปหัวใจ สีเขียวเข้ม มีเส้นลายบนแผ่นใบสีแดงเข้มออกม่วงพาดตามยาวของรูปใบ สวยงามมาก ขนาดใบยาวประมาณ 3 เซนติเมตรก้านใบสั้นติดข้อ ริมใบเรียบเกลี้ยงไม่มีจักกิ่งก้านกลมอวบแต่เปราะหักง่าย
    ดอก    เป็นช่อ กลีบดอกสีขาว และมีสีเหลืองอยู่ตรงกลางช่อดอกหนึ่ง ๆ ยาวประมาณ 8-10 เซนติเมตร
    ราก    เป็นแบบรากดิน(epiphytic)
ฤดูกาลออกดอก:    มีนาคม – พฤษภาคม
การปลูก:    ปลูกเลี้ยงเป็นกล้วยไม้กระถางประดับภายนอกและในอาคาร   
การใช้ประโยชน์:    ไม้ประดับ และสมุนไพร
ถิ่นกำเนิด:    ไทย เมียนม่าร์ จีนตอนใต้ เวียดนาม มาเลเซีย และสุมาตรา
แหล่งที่พบ:    พบที่ป่าดิบในภาคใต้
สรรพคุณทางยา:    - ต้น, ราก, : ใช้รับประทานเป็นยารักษาเลือดลม หืด ไอ โรคริดสีดวง ท้องมาน กระเพาะอาหารพิการ เส้นประสาทไม่ปกติ แก้ปวดข้อ ปวดกระดูก หรือแก้ท้องอืดเฟ้อ
                            - ดอกใช้เป็นยาขับเหงื่อและรักษาโรคปอด


ลักษณะของกล้วยไม้ม้าวิ่ง (3504)

ชื่อวิทยาศาสตร์:    Doritis pulcherrima  Lindl.
ชื่อพ้อง:    Phalaenopsis esmeralda  Rchb.f.
                Phalaenopsis pulcherrima  (Lindl.) J.J.Sm.
ตระกูล:    ORCHIDACEAE
ชื่อพื้นเมือง:    ม้าวิ่ง, ละเม็ด, หญ้าดอกหิน,กล้วยหิน
ลักษณะทั่วไป:
    ต้น    สั้นมาก
    ใบ    ใบอวบน้ำค่อนข้างหนาแข็ง ออกติดดิน เรียงชิดกัน สลับเป็น 2 แถว ใบรูปขอบขนานแกมรูปใบหอก ขนาด 8 - 16 x 2 - 4 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบเป็นกาบซ้อนทับกัน ขอบใบเรียบ แผ่นใบด้านบนสีเขียว ด้านล่างสีม่วงแดง เกลี้ยงทั้ง 2 ด้าน ใบแก่จะหลุดร่วงไป
    ดอก    ช่อดอกออกด้านข้างของลำต้น เป็นช่อเดี่ยว มีหลายดอกกระจายห่าง ๆ กัน เรียงสลับรอบแกนช่อดอก ก้านช่อยาวมาก อาจยาวได้ถึง 60 ซม. หนาประมาณ 3 มม. มีใบประดับตามก้านช่อห่าง ๆ กัน 2 - 5 ใบ ก้านดอกย่อยยาวประมาณ 2 ซม. ใบประดับที่ก้านดอกย่อยยาว 2 - 2.5 มม. กลีบเลี้ยงอันบนและกลีบดอกรูปไข่กลับ ขนาด 10 x 6 มม. กลีบเลี้ยงคู่ข้างมีฐานกว้างประมาณ 9 มม. ยาวประมาณ 1 ซม. ทั้งกลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีสีน้ำเงิน กลีบปากมีส่วนฐานแนบขนานกับฐานเส้าเกสร แผ่นกลีบปากชี้ไปด้านหน้า แฉกข้างตั้งขึ้น รูปไข่กลับ ขนาด 5.5 x 4 มม. ปลายแฉกมน สีม่วงแดง โคนแฉกสีน้ำเงินแกมขาว แฉกกลางสีน้ำเงิน รูปขอบขนาน ขนาด 5 x 4 มม. อวบน้ำ ปลายแฉกมนหรือแหลม ตรงกลางมีสันสีขาว รยางค์ 2 อันที่ฐานกลีบปากยาว 3 - 3.5 มม. เส้าเกสรสีม่วงแดง ขนาด 7 x 3 - 4 มม. ก้อนเรณูกลม 4 ก้อน ก้านชูก้อนเรณูยาว ฐานแคบ ฝาอับเรณูสีเหลือง
   ราก    เป็นแบบรากกึ่งอากาศ (Semi-epiphytic) รากสีขาว หนาประมาณ 4 มม.
   ผล    แห้งแตก ขนาด 3.5 - 4 x 0.8 - 1 ซม.
ฤดูกาลออกดอก:    มิถุนายน – พฤศจิกายน   
การใช้ประโยชน์:    ไม้ประดับ
ถิ่นกำเนิด:    ไทย เมียนม่าร์ จีน ลาว เวียดนาม และมาเลเซีย
แหล่งที่พบ:    พบทั่วทุกภาค


ลักษณะของกล้วยไม้เขาแกะ (3510)

ชื่อวิทยาศาสตร์:    Rhynchostylis coelestis  Rchb.f.
ชื่อพ้อง:    Vanda pseudocoerulescens  Guill.
ตระกูล:    ORCHIDACEAE
ชื่อสามัญ:    Blue foxtail crchid
ชื่อพื้นเมือง:    เขาแกะ เอื้องขี้หมา เขาควาย
ลักษณะทั่วไป:
    ต้น    ต้นเตี้ย รูปทรงกระบอก
    ใบ    เรียงสลับซ้ายขวาเป็นแผงชิดกันแน่นใบห่อเข้าหากันปลายโค้งลงเล็กน้อยมองดูคล้ายเขาแกะ แผ่นใบบางและเหนียว ใบรูปแถบขนาดใบยาว 10-15 ซม. ก้านช่อดอก ตั้งตรงยาวประมาณ 15-20 ซม.
    ดอก    ช่อดอกตั้งตรง ก้านช่อมักสั้นกว่าแกนช่อ ดอกขนาด 1.5 ซม. กลีบเลี้ยงบนรูปรี แกมรูปไข่กลับ กลีบเลี้ยงคู่ข้างรูปไข่กลับ กลีบดอกรูปขอบขนานแกมรูปไข่ ทั้งห้ากลีบสีขาว ปลายกลีบมนและขอบเป็นสีม่วงจาง กลีบปากรูปลิ่ม สีขาวอมม่วงจนถึงสีม่วงเข้ม ปลายกลีบมนและมีสีเข้มกว่าโคน กลีบมีเดือยดอกที่แบนและส่วนปลายโค้งงอ เส้าเกสรสั้น สีขาว ช่วงออกดอกไม่ทิ้งใบ
    ราก    เป็นแบบรากอากาศ (epiphytic)   
ฤดูกาลออกดอก:    มีนาคม-พฤษภาคม  
ส่วนที่มีกลิ่นหอม:    ดอก
การใช้ประโยชน์:    ไม้ประดับ
ถิ่นกำเนิด:    ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม
แหล่งที่พบ:    พบตามป่าดิบแล้งเกือบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้


ลักษณะของกล้วยไม้ดิน (3511)

ชื่อวิทยาศาสตร์:    Spathoglottis Blume
ตระกูล:    ORCHIDACEAE
ชื่อสามัญ:    Ground orchid
ชื่อพื้นเมือง:    เอื้องดิน ว่านจุก กระเทียมป่า
ลักษณะทั่วไป:
    ต้น    มีลำลูกกล้วยป้อมซึ่งมักนิยมเรียกกันว่าหัว ที่ห้วมีข้อถี่ๆ ลำหนึ่งหรือหัวหนึ่งมีใบอยู่ 2-4 ใบ กล้วยไม้ดินใบหมากมีลำต้นแบบ creeping rhizome อยู่ใต้ดินซึ่งเจริญแบบซิมโพเดียมลำลูกกล้วยเจริญจากลำต้นใต้ดินโผล่เหนือดินเป็นจุดกำเนิดใบ
    ใบ    ใบยาวและมีเส้นใบที่เป็นรอยพับจีบตามยาวฐานใบมีกาบใบรอบๆ ลำต้นปลายกาบใบจะเชื่อมตดกันเมื่อเล็กใบจะตั้งตรงและมีร่องเมื่อแก่ปลายใบเรียวแหลมและโค้งปลายห้อยลง
    ดอก    ช่อดอกเกิดด้านข้างของหัว ดอกเกิดที่ปลายช่อ ช่อดอกแบบ racemose ดอกบานจากข้างขึ้นข้างบนจำนวน 10- 30 ดอกต่อช่อ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีรูปร่างคล้ายกันและกางออกเกือบอยู่ในระนาบเดียวกันกลีบปากช่วงกลางมักคอด ช่วงปลายกว้างและปลายมักจะหยักเว้าส่วนโคนมีหูปากพับตั้งขึ้นทั้ง 2 ข้างบางชนิดไม่มีหูปาก ปลายปากผายออกกว้างแล้วแต่ชนิดบางครั้งเว้าที่ปลายทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิด เส้าเกสรที่โคนยาวโค้งเล็กน้อย กล่มเรณูมี 2 ชุด ชุดละ 4 กลุ่มแต่ละกลุ่มรูปคล้ายกระบอก มีผู้นำมาปรับปรุงพันธุ์ทำให้มีความหลายหลายของสีและขนาดของดอกมาก
    ราก    เป็นแบบรากดิน (terrestrial)   
ฤดูกาลออกดอก:    มีดอกเกือบตลอดปี   
การปลูก:  
 1.ใช้กาบมะพร้าวสับติดเปลือกเป็นชิ้นๆ ก่อนจะนำมาใช้ปลูก ควรแช่น้ำไว้ประมาณ 1-2 คืนเพื่อให้กาบมะพร้าวอุ้มน้ำไว้เต็มที่ก่อน แต่ไม่ควรเกิน 2 คืนไม่งั้นจะมีกลิ่นเหม็นและอาจเกิดการเน่าได้ครับ การใช้กาบมะพร้าวชิ้นเป็นเครื่องปลูกสำหรับว่านจุก
ข้อดีก็คือต้นว่านจุกจะฟื้นตัวได้ไวและเจริญเติบโตได้ดีมาก
ข้อเสียก็คือกาบมะพร้าวมักทรุดตัวเร็ว ไม่ถึง 2 ปี ก็ผุพังหมด ต้องทำการเปลี่ยนเครื่องปลูกใหม่เรื่อยๆ และต้องไม่นำกระถางไปวางไว้บนพื้นดินเปลือยๆ นะครับ ควรหาจานรองหรืออิฐบล็อคมารองก้นกระถางก่อน ไม่งั้นพวกปลวกจะมากินกาบมะพร้าว และอีกข้อหนึ่งคือกาบมะพร้าวมักมีแร่ธาตุซึ่งเป็นอาหารสำหรับพืชน้อย ควรให้ปุ๋ยพวกออสโมโคสเสริม
2.ใช้ดินใบก้ามปูใช้ผสมในอัตราส่วน ดินใบก้ามปู : กาบมะพร้าวสับชิ้น = 2 : 1  โดยกาบมะพร้าวสับต้องใช้วิธีเดิมคือแช่น้ำก่อน
ข้อดีของดินคือเป็นเครื่องปลูกที่อยู่ได้นาน การเติบโตหรือฟื้นตัวของกล้วยไม้ดินก็เร็วพอประมาณและมีแร่ธาตุที่พืชต้องการอยู่เพียงพอในช่วงแรกๆ
ข้อเสียประการแรก เมื่อปลูกแล้วกระถางกล้วยไม้ของเราจะมีน้ำหนักสูง เคลื่อนย้ายลำบากหน่อย
ประการที่สอง หากปล่อยนานๆไปไม่มีการพรวนเครื่องปลูกหรือเพิ่มกาบมะพร้าวจะทำให้เครื่องปลูกแน่นไปด้วยดิน และหากปลูกไปนานพอควรแล้วควรเสริมพวกปุ๋ยด้วย  
การใช้ประโยชน์:    ไม้ประดับ
ถิ่นกำเนิด:    ตั้งแต่อินเดียจนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ฟิลิปปินส์ นิวกินี ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิกบางเกาะ
แหล่งที่พบ:    พบขึ้นเกือบทั่วประเทศไทยในภาคเหนือ ภาคตะวันออกและภาคตะวันตก เป็นพวกที่มีดอกสีเหลืองหรือขาวนวล ส่วนที่พบทางภาคใต้ดอกสีม่วง


เทคนิคการปลูกเลี้ยงกล้วยไม้สกุลช้าง (3769)

ในบรรดาเกษตรกรที่ปลูกเลี้ยงกล้วยไม้ในเชิงพาณิชย์ในบ้านเรานั้น คุณวิชัย รัตนจินดาเกษตรกรจังหวัดกำแพงเพชร ถือได้ว่าประสบความสำเร็จหรืออาจจะกล่าวได้ว่ามีชื่อเสียงรายหนึ่งของประเทศไทย
  
ในบรรดากล้วยไม้สกุลช้างด้วยกันนั้นคุณวิชัยบอกว่า “ช้างแดง” ปลูกเลี้ยงยากที่สุด เจริญเติบโตช้าและตายง่าย ปัจจุบันยังมีเกษตรกรและผู้สนใจนิยมเลี้ยงกล้วยไม้สกุลช้างกันมากขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง อาจจะด้วยความท้าทายในการปลูกเลี้ยงนั่นเอง เหตุผลหนึ่งที่กล้วยไม้ในสกุลช้างปลูกเลี้ยงยากเพราะมีลักษณะของการ “ห่างป่า” มีผลทำให้อ่อนแอต่อสภาพแวดล้อม แมลงและโรค
  
ที่สวนกล้วยไม้ที่นี่ จะเน้นการปลูกเลี้ยงกล้วยไม้สกุลช้าง ได้แก่ ช้างแดง, ช้างกระ, ช้างเผือก, ช้างส้ม, ช้างประหลาดและช้างการ์ตูน เป็นต้น หรือแม้แต่กล้วยไม้ในกลุ่มไอยเรศ เลี้ยงได้งามมากเพียงกอเดียวมีจำนวนช่อดอกถึง 52 ช่อและชนะเลิศการประกวด เป็นที่สังเกตว่าในการพัฒนา กล้วยไม้สกุลช้างของคุณวิชัยนั้นจะเน้นวิธีการเพาะเมล็ดเพียงอย่างเดียวไม่ ได้ใช้วิธีการปั่นตา เมื่อได้ต้นจากการเพาะเมล็ดจะเลี้ยงเป็นไม้รุ่นขายต่อไป เหตุผลที่ไม่นิยมวิธีการปั่นตา เนื่องจากที่ผ่านมากล้วยไม้สกุลช้าง ที่นำมาปั่นตาพบเปอร์เซ็นต์การตายสูง แต่ที่สำคัญในความคิดเห็นของคุณวิชัยถ้าหากทุกคนที่เลี้ยงกล้วยไม้ สกุลช้างและนำมาขยายพันธุ์ด้วยการปั่นตา จะทำให้การพัฒนา สายพันธุ์กล้วยไม้สกุลช้างจะหยุดอยู่กับที่ แต่การขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดนั้นเจ้าของหรือนักผสมพันธุ์ผสมจนติดฝัก เฝ้ารอคอยเวลาได้ลุ้นและความหลากหลายของสายพันธุ์ใหม่ที่จะเกิดขึ้น

สำหรับเกษตรกรที่เลี้ยงกล้วยไม้ในสกุลช้างจะต้องทราบข้อมูลว่า ไม่ชอบสภาพอากาศร้อนและแสงแดดแรงจัด ดังนั้นสภาพโรงเรือนจะต้องมุงด้วยตาข่ายพรางแสงชนิด 70% คือให้แสงแดดผ่านได้เพียง 30% เท่านั้น และเมื่อเข้าสู่ช่วงฤดูร้อนเดือนมีนาคม-พฤษภาคม ควรจะเพิ่มตาข่ายพรางแสงปูทับอีกชั้นหนึ่ง จะต้องสร้างบรรยากาศและสภาพแวดล้อมให้เย็นเพื่อลดอุณหภูมิของความร้อนลง ปัจจุบันสวนกล้วยไม้แห่งนี้จะใช้น้ำจากแม่น้ำปิงที่ไหลมาจากเขื่อนภูมิพล เพื่อใช้รดกล้วยไม้ ในช่วงฤดูแล้งน้ำจากแม่น้ำปิงจะใสสะอาดมากสามารถนำมาใช้ได้ทันทีโดยไม่ต้องพักน้ำ แต่ถ้าเป็นช่วงฤดูฝนน้ำจะขุ่นมาก จะต้องนำน้ำมาพักก่อนใช้ด้วยการใช้สารส้มหรือคลอรีนมาช่วยปรับให้คุณภาพของ น้ำดีขึ้นก่อนนำใช้รดให้กับต้นกล้วยไม้สกุลช้าง การให้น้ำกล้วยไม้จะเริ่มให้ในช่วงเช้ามืดประมาณตี 4
  
ในเรื่องของการให้ปุ๋ยในกล้วยไม้สกุลช้างให้บ้างแต่น้อยกว่ากล้วยไม้สกุล อื่น เนื่องจากถ้างามมากและมีใบที่อวบอ้วนเกินไปจะทำให้เกิดโรคได้ง่ายโดยเฉพาะ โรคยอดเน่า

เอื้อเฟื้อข้อมูล โดย www.dailynews.co.th

การขยายพันธุ์กล้วยไม้ โดยวิธีตัดแยก (3802)

การขยาย
พันธุ์วิธีนี้เป็นการนำเอาส่วนใดส่วนหนึ่งของกล้วยไม้ ซึ่งไม่ใช้เมล็ด ไปทำการขยายพันธุ์เพื่อเพิ่มปริมาณ โดยที่ยังคงลักษณะทางพันธุศาสตร์ของต้นเดิมไว้ หรืออาจมีการเปลี่ยนแปลงไปบ้างเล็กน้อย      

ขั้นตอน
1. การตัดแยกลำหน้า (front bulb) และลำหลัง (back bulb) ใช้สำหรับกล้วยไม้ประเภทฐานร่วม เช่น กล้วยไม้สกุลสิงห์โตกลอกตา สกุลกุหลาบ สกุลคัทลียา เป็นต้น

กล้วยไม้ประเภทฐานร่วมจะมีเหง้าซึ่งเป็นส่วนที่ทำหน้าที่ลำต้นเป็นตัวสร้างลำลูกกล้วยและเชื่อมโยงส่วนโคนของลำลูกกล้วยให้ติดต่อกัน ลำลูกกล้วยที่เกิดก่อนหรือแก่กว่าเรียกว่า "ลำหลัง" ส่วนลำที่เกิดที่หลังหรืออ่อนกว่าเรียกว่า "ลำหน้า" และทิศทางที่เหง้าเจริญออกไปเป็นลำลูกกล้วยลำใหม่เรียกว่า "หน้าไม้" กล้วยไม้ที่ปลูกใหม่ ๆ ในระยะแรกควรเลี้ยงไว้ในที่ร่ม พอมีรากใหม่เกิดขึ้นจึงนำออกไปเลี้ยงในเรือนเลี้ยงกล้วยไม้

2. การตัดลำแก่ไปปักชำ ใช้สำหรับกล้วยไม้ประเภทฐานร่วมบางสกุล เช่น สกุลหวาย สกุลเข็ม สกุลช้าง โดยตัดลำลูกกล้วยลำหนัง ๆ ที่แก่แต่ก็ยังคงสมบูรณ์และอาจจะทิ้งใบหมดแล้วให้ขาดจากกอแยกเป็นลำเดี่ยว ๆ ตัดรากเก่า ๆ ที่โคนลำออกให้หมด ระวังอย่าให้ตาที่โคนลำเป็นอันตรายแล้วเปลือกข้าง รดน้ำให้ตามปกติ ถ้าตาที่โคนลำลูกกล้วยสมบูรณ์ดีจะแตกเป็นหน่อกลายเป็นลำลูกกล้วย มีราก มีใบได้ หรืออาจเกิดเป็นตะเกียงหรือหน่อเล็ก ๆ ที่กลางหรือปลายลำลูกกล้วย ซึ่งเจริญเติบโตเป็นลำลูกกล้วยไม้ มีราก มีใบ เช่นเดียวกับต้นเดิม การย้ายไปปลูกใหม่ก็คงปฏิบัติเช่นเดียวกับการปลูกหน้าลำหลัง

3. การตัดก้านช่อดอก ให้แตกต้นอ่อนที่ข้อก้าน ใช้สำหรับกล้วยไม้สกุลฟาแลนอปซิส

4. การตัดยอดและการแยกหน่อ ใช้สำหรับกล้วยไม้ประเภทฐานเดี่ยว เช่น กล้วยไม้สกุลช้าง แวนดา กุหลาบ เป็นต้น ตัวอย่างการขยายพันธุ์กล้วยไม้สกุลช้างด้วยวิธีตัดยอด ให้เลือกเฉพาะต้นที่มีขนาดสูงพอดี และมีรากเกิดขึ้นที่ส่วนยอด ตัดลำต้นออกเป็น 2 ท่อน ด้วยกรรไกรหรือมีดคม ๆ ที่สะอาด ให้ท่อนบนซึ่งเรียกว่ายอดมีรากติดไปด้วย 2-3 ราก ส่วนท่อนล่างซึ่งติดอยู่กับภาชนะที่ปลูกเรียกว่าตอให้มีความสูง มีข้อปล้อง และใบเหลืออยู่พอสมควร หลังจากตัดส่วนยอดออกไปไม่นานจะมีหน่อเกิดขึ้นที่ตาของต้นตอ นำส่วนยอดไปปลูกส่วนการแยกหน่อจากต้นเดิมควรเลือกแยกหน่อที่แข็งแรง มีรากอยู่ใกล้ ๆ กับโคนหน่ออย่างน้อย 2-3 ราก ใช้กรรไกรหรือมีดคม ๆ ที่สะอาดตัดตรงใกล้โคน โดยให้หน่อชิดกับต้นเดิมมากที่สุด ให้รากที่เกิดจากโคนหน่อติดไปกับหน่อทั้งหมด หลังจากตัดยอดหรือแยกหน่อออกไปแล้วรอยแผลที่เกิดขึ้นทุกแผลควรใช้ปูนแดง หรือยาป้องกันโรค เช่น ออร์โธไซด์ 50 ผสมน้ำให้เละ ๆ ทาเพื่อป้องกันการติดเชื้อ เนื่องจากกล้วยไม้ประเภทฐานเดี่ยวในสภาพแวดล้อมของบ้านเราแทบจะไม่มีการพักตัว การตัดยอดและการแยกหน่อจึงน่าจะทำได้ในทุกฤดูกาล แต่ที่เหมาะที่สุดคือปลายฤดูร้อนถึงต้นฤดูฝน

อ้างอิงจาก http://dnfe5.nfe.go.th/ilp/occupation/45205/45205-7-1.html


การขยายพันธุ์กล้วยไม้ โดยการเพาะเนื้อเยื่อ (3803)

 การเพาะเนื้อเยื่อกล้วยไม้หรือที่เรียกกันว่า "การปั่นตา" เป็นการนำส่วนของเนื้อเยื่อจากส่วนต่าง ๆ เช่น ตายอด ตาช้าง ปลายใบอ่อน มาเลี้ยงในอาหารสังเคราะห์ ในสภาพปลอดเชื้อ โดยมีการควบคุมสภาพแวดล้อม เช่น แสง อุณหภูมิ ให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโต ต้นที่ได้จากการขยายพันธุ์วิธีนี้เรียกว่า mericlone แปลว่าต้นพันธุ์ใหม่ ผลจากการขยายพันธุ์วิธีนี้อาจจะมีโอกาสกลายพันธุ์ไปในทางที่ดีขึ้นหรือเลวลง ได้ แต่ก็พบได้ยาก ระยะเวลาในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อตั้งแต่เริ่มต้น จนถึงนำไปปลูกได้จำนวนประมาณหมื่นต้น จะใช้เวลาอย่างเร็วที่สุด 10 เดือน แต่ส่วนใหญ่จะใช้เวลานานกว่านี้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของกล้วยไม้ ความสมบูรณ์ของหน่อ เทคนิคในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ สูตรอาหารสังเคราะห์ และสภาพแวดล้อม     

ขั้นตอน
1. การเลือกชิ้นส่วนของกล้วยไม้ ใช้ส่วนที่มีเนื้อเยื่อเจริญ ซึ่งสามารถพัฒนาเป็นต้นอ่อนได้ เช่น กล้วยไม้สกุลหวาย ใช้หน่ออ่อน ตาข้าง ตายอด ดอกอ่อน กล้วยไม้คัทลียา ใช้หน่ออ่อน ตาข้าง ตายอด ปลายใบอ่อน กล้วยไม้สกุลแวนดา และลูกผสม ใช้ยอดอ่อนที่มีตาข้าง และตายอด ช่อดอกอ่อน ยายไม่เกิน 3 มิลลิเมตร เป็นต้น

2. การฟอกฆ่าเชื้อ ที่ผิวชิ้นส่วนกล้วยไม้ให้ปลอดเชื้อจุลินทรีย์ ก่อนตัดส่วนเนื้อเยื่อเจริญออกไปเพาะเลี้ยง

3. การเลี้ยงชิ้นส่วนหรือตา ในระยะแรกเมื่อฟอกฆ่าเชื้อแล้วใช้มีดเจาะตาขนาดเล็กไม่เกิน 0.5 เซนติเมตร นำไปเลี้ยงในอาหารเหลวหรืออาหารแข็ง สูตรที่เหมาะสม ตาอาจจะมีสีเขียวสดหรือสีน้ำตาล แล้วแตกโปรโตคอร์ม (protocorm) สีเขียวออกมารอบ ๆ ชิ้นส่วน ระยะนี้ต้องเปลี่ยนอาหารทุกสองสัปดาห์

4. การเพิ่มจำนวนโปรโตคอร์ม คัดเลือกโปรโตคอร์มที่เป็นก้อนกลมไม่มีใบยอด ไปเลี้ยงในอาหารสูตรที่เหมาะสมเพื่อเพิ่มจำนวน ถ้าโปรโตคอร์มพัฒนาเป็นยอด ต้องตัดยอดทิ้งเพื่อให้เกิดการแตกหน่อจากส่วนฐาน

5. การเลี้ยงโปรโตคอร์มให้เป็นต้น เมื่อได้จำนวนโปรโตคอร์มตามต้องการแล้ว ย้ายไปเลี้ยงในอาหารแข็งสูตรที่เหมาะสม ให้โปรโตคอร์มแต่ละหน่วยเกิดใบยอด เมื่อต้นสูงประมาณ 2-3 เซนติเมตร ก็ตัดแยกแต่ละต้น ย้ายไปเลี้ยงในวุ้นอาหารสูตรถ่ายขวด เพื่อให้เจริญเติบโตแข็งแรง พร้อมที่จะนำออกปลูกภายนอกได้


มาตรฐานฯ ช่อดอกกล้วยไม้ (3864)

มาตรฐานฯ ช่อดอกกล้วยไม้ (มกษ.5001-2552)

ช่อดอกกล้วยไม้ทุกชั้นมีคุณภาพตามมาตรฐานช่อดอกกล้วยไม้ (มกษ.5001-2552) ดังนี้

คุณภาพขั้นพื้นฐาน

กำหนด    
ให้มีจำนวนดอกบานไม่น้อยกว่า 40% ของจำนวนดอกทั้งหมดต่อช่อ ยกเว้นสกุลหวาย    
มีจำนวนดอกบานไม่ต่ำกว่า 4 ดอก สด สะอาด ไม่พบศัตรูพืช    
ปราศจากตำหนิและรอยช้ำ ไม่พบความผิดปกติของรูปทรงก้านช่อ และดอก

ชั้นคุณภาพช่อดอกกล้วยไม้ แบ่งเป็น 3 ชั้นคุณภาพ ดังนี้

1.    
ชั้นพิเศษ (extra class) ทุกส่วนของช่อดอกกล้วยไม้ในชั้นนี้    
ต้องมีคุณลักษณะเป็นไปตามคุณภาพขั้นพื้นฐาน และมีรูปทรง ดอก สี    
ตรงตามชนิดและสายพันธุ์ ยกเว้นจำนวนดอกบาน ต้องมีจำนวนดอกบานไม่น้อยกว่า    
65% ของจำนวนดอกทั้งหมดต่อช่อ

2. ชั้นหนึ่ง (class I)    
ทุกส่วนของช่อดอกกล้วยไม้ในชั้นนี้    
ต้องมีคุณลักษณะเป็นไปตามคุณภาพขั้นพื้นฐาน และมีรูปทรง ดอก สี    
ตรงตามชนิดและสายพันธุ์ ยกเว้นจำนวนดอกบาน ต้องมีจำนวนดอกบานไม่น้อยกว่า    
55% ของจำนวนดอกทั้งหมดต่อช่อ

3. ชั้นสอง (class II) ช่อดอกกล้วยไม้ในชั้นนี้ มีคุณภาพไม่เข้าชั้นที่สูงกว่า แต่มีคุณภาพไม่ต่ำกว่าคุณภาพขั้นพื้นฐาน

หมายเหตุ : ช่อดอกกล้วยไม้ทุกชั้นคุณภาพ อาจมีรอยการเด็ดดอกออกได้ หากไม่ทำให้รูปทรงเสียหาย

ที่มา : เทคโนโลยีชาวบ้าน

กล้วยไม้เป็นไม้มงคล (3879)

   

คนไทยเราเชื่อกันมาแต่โบราณว่า กล้วยไม้หากปลูกไว้ประจำบ้านจะช่วยเสริมสร้างความเป็นสิริมงคล ดึงดูดความรักเสริมดวงทางเสนห์เมตตา มีคนคอยส่งเสริมช่วยเหลืออยู่เสมอๆ นอกจากนี้ตัวเจ้าของเองยังจะเป็นผู้ที่คิดดีทำดี มีความสุขรอบคอบทำการใดก็จะสำเร็จดี

   

การเสริมฤทธิ์ขลังให้กล้วยไม้มากยิ่งขึ้น ควรปลูกกล้วยไม้ในวันพุธ และควรปลูกไว้ทางด้านทิศตะวันออกของบ้าน