ค้นหาสินค้า

อบรมเทคนิคการผลิตปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพเพื่อการค้า วันที่ 21–22 มกราคม 2556

โครงการฝึกอบรม    
เรื่อง  เทคนิคการผลิตปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพเพื่อการค้า รุ่นที่ 4    
วันที่ 21–22 มกราคม 2556
   
   
1. หลักการและเหตุผล    
ปัจจุบันความต้องการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยจากการตกค้างของสารเคมีในผลผลิต ทาให้เกษตรกรสนใจปลูกพืชตามระบบเกษตรอินทรีย์เพิ่มขึ้น ซึ่งปัจจัยหนึ่งในการผลิตพืชระบบนี้ที่สาคัญคือปุ๋ยอินทรีย์ และจากสภาพพื้นที่เพาะปลูกโดยทั่วของของประเทศไทยมีประมาณอินทรียวัตถุต่า กรมพัฒนาที่ดินจึงได้ส่งเสริมให้เกษตรกรผลิตปุ๋ยอินทรีย์ใช้เองเพื่อปรับปรุงดิน อีกทั้งยังเป็นการลดต้นทุนและใช้ประโยชน์จากวัสดุเหลือทิ้งในท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์แบบพึ่งพาตนเอง แต่เกษตรกรโดยส่วนใหญ่ไม่นิยมผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ทาให้มีผู้ประกอบการผลิตปุ๋ยอินทรีย์จาหน่ายจานวนมากในชื่อเรียกต่างๆ กัน เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ ปุ๋ยชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์น้า น้าหมักชีวภาพ เป็นต้น และมีการโฆษณาสรรพคุณต่างๆ นานา ขาดการควบคุมมาตรฐานและก่อให้เกิดความเข้าใจผิด ในชื่อที่เรียกและสมบัติของปุ๋ย รัฐบาลจึงประกาศพระราชบัญญัติปุ๋ย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 กาหนดความหมาย มาตรฐานปุ๋ยอินทรีย์ บทลงโทษ เพื่อคุ้มครองเกษตรกรผู้ใช้ปุ๋ย โดยมีกรมวิชาเกษตรเป็นหน่วยงานที่ดูแลให้ผู้ผลิตปฏิบัติตามพระราชบัญญัติฯ และจากการวิเคราะห์ปุ๋ยอินทรีย์ที่ผู้ผลิตส่งตรวจโดยหน่วยวิเคราะห์วิจัยดิน พืช และวัสดุเกษตร พบว่าปุ๋ยอินทรีย์ที่นาส่งตรวจยังไม่ได้มาตรฐานตามที่กรมวิชาการกาหนดเป็นจานวนมากและพบว่าผู้ผลิตยังขาดความเข้าใจเรื่องปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพ ผู้ผลิตเข้าใจว่าปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพเป็นปุ๋ยชนิดเดียวกัน ส่วนผู้ผลิตปุ๋ยชีวภาพก็มีปัญหาเกี่ยวกับเทคนิคการผลิต ทาให้ไม่สามารถผ่านเกณฑ์การขึ้นทะเบียนจากกรมวิชาการเกษตร ดังนั้นหากผู้ผลิตมีความเข้าใจในความหมายของปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพ ประโยชน์และการใช้ปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพที่ถูกต้อง เข้าใจกระบวนการผลิต คุณสมบัติ และการเก็บรักษาปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพ ย่อมทาให้ผู้ผลิตผลิตปุ๋ยที่มีคุณภาพได้ตามเกณฑ์ของกรมวิชาการเกษตร และจะสามารถส่งเสริมเกษตรกรให้ใช้ปุ๋ยอย่างถูกต้องและเกิดผลดีต่อการเพิ่มผลิตภาพของดิน ช่วยลดปริมาณขยะวัสดุอินทรีย์ ส่งเสริมสภาพแวดล้อมที่ดีในการผลิตภาคเกษตรกรรม ผู้บริโภคได้บริโภคผลผลิตที่มีคุณภาพ และยังเป็นการลดการนาเข้าปุ๋ยเคมี    
   
หน่วยวิเคราะห์วิจัยดิน พืช และวัสดุเกษตร งานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเกษตร ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง สถาบันวิจัยและพัฒนา กาแพงแสน เห็นความสาคัญของประโยชน์ การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยชีวภาพ และการรักษาผลประโยชน์ของเกษตรกร จึงได้จัดทาโครงการฝึกอบรม เทคนิคการผลิตปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพเพื่อการค้า เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย การผลิต มาตรฐาน คุณสมบัติ การเก็บรักษา การใช้ และประโยชน์ของปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพ ให้แก่ผู้ผลิต ผู้จาหน่าย และเกษตรกร    
   
2. วัตถุประสงค์    
1. เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการในการเลือกใช้วัสดุอินทรีย์ เทคนิคการผลิต เพื่อการผลิตปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพตามความหมายและได้มาตรฐานตาม พ.ร.บ.ปุ๋ย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550    
2. เพื่อให้ความรู้เรื่องคุณสมบัติ ประโยชน์ และการใช้ปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพแก่ผู้ประกอบการ    
3. เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถแนะนาการใช้ปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพที่ถูกต้องแก่เกษตรกรผู้ซื้อ    
   
3. คุณสมบัติของผู้เข้ารับการอบรม    
ผู้ผลิตและจาหน่ายปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพ เช่น เอกชน ร้านค้า ห้างหุ้นส่วน บริษัท กลุ่มเกษตรกร และผู้สนใจทั่วไป    
   
4. ระยะเวลาในการฝึกอบรม    
รุ่นที่ 4 วันที่ 21 –22 มกราคม พ.ศ. 2556    
   
5. จำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม    
รุ่นละประมาณ 25 คน    
   
6. สถานที่อบรม    
ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง สถาบันวิจัยและพัฒนา กาแพงแสน    
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน อาเภอกาแพงแสน จังหวัดนครปฐม 73140    
   
7. วิธีการฝึกอบรม    
การบรรยายและเยี่ยมชมโรงงานผลิตปุ๋ยอินทรีย์    
   
8. ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม    
ค่าลงทะเบียนท่านละ 1,300 บาท ค่าใช้จ่ายนี้รวมเอกสารประกอบการฝึ กอบรม อาหารกลางวันอาหาร    
ว่าง และบริการรถนาเยี่ยมชมโรงงาน ทั้งนีผู้เข้าอบรมต้องเสียค่าใช้จ่ายเรื่องที่พัก และค่าเดินทางไป – กลับเอง โดย    
ผู้เข้ารับการอบรมสามารถชาระเงิน โดย    
1) ส่งเป็นธนาณัติในนามของ นางสาวอตินุช แซ่จิว (เคาน์เตอร์ ม.เกษตรศาสตร์ กาแพงแสน 00034) ที่อยู่    
ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ตาบลกาแพงแสน    
อาเภอกาแพงแสน จังหวัดนครปฐม 73140 หรือ    
2) โอนเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์ ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขากาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยา    
เขตกาแพงแสน ชื่อบัญชี หน่วยวิเคราะห์วิจัยดิน พืช และวัสดุเกษตร เลขที่บัญชี 769-226887-0    
หลังจากชาระเงินแล้ว กรุณาติดต่อทางโทรศัพท์กับเจ้าหน้าที่อีกครั้ง และกรุณาส่งหลักฐานการชาระเงิน    
ทางแฟกซ์ หรือทางไปรษณีย์ก่อนการอบรม ท่านจะได้รับใบเสร็จรับเงินในวันฝึกอบรม    
*กรณีที่ท่านไม่สามารถเข้าร่วมการอบรมได้ กรุณาโทรแจ้งให้ทางเราทราบก่อน วันอังคารที่ 15    
มกราคม พ.ศ. 2556 ทางเราขอหักเงินค่าธรรมเนียม 50% ของค่าลงทะเบียน และหากแจ้งหลัง วัน    
อังคารที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2556 ทางโครงการขอสงวนสิทธ์ิในการคืนเงินค่าลงทะเบียนทั้งหมด    
   
9. การสมัครเข้ารับการฝึกอบรม    
ผู้สนใจขอทราบรายละเอียดและสมัครเข้ารับการอบรมได้ที่    
นางสาวคนิตฐา ชินวงษ์เขียว หรือ นางสาวอตินุช แซ่จิว    
ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง    
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน    
อาเภอกาแพงแสน จังหวัดนครปฐม 73140    
โทรศัพท์ 034-281-092, 081-710-0348 โทรสาร 034-351-392    
E-mail: [email protected], [email protected]    
ดาวน์โหลดใบสมัครได้ที่ http://clgc.rdi.ku.ac.th    
   
ที่มา: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คำสำคัญ: