ค้นหาสินค้า

จัดฝึกอบรมโรคเมล็ดพันธุ์ รุ่นที่ 2 วันที่ 29 – 30 มีนาคม พ.ศ. 2554

การจัดฝึกอบรมโรคเมล็ดพันธุ์ รุ่นที่ 2    
โรคของเมล็ดพันธุ์ในพืชอุตสาหกรรม (Seed pathology for industrial crops)    
ระหว่างวันที่ 29 – 30 มีนาคม พ.ศ. 2554    
ณ ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตรกาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน    
โดย ภาควิชาโรคพืชร่วมกับศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว ม. เกษตรศาสตร์    
   
1. หลักการและเหตุผล    
ประเทศไทยมีศักยภาพในการผลิตพืชผลทางการเกษตร จะเห็นได้จากการส่งผลผลิตทางการเกษตรเพื่อการนาไปจาหน่ายยังต่างประเทศ ในกลุ่มของ ข้าว ข้าวโพด และ พริก โดยที่พืชอุตสาหกรรมดังกล่าวมีความสาคัญทางเศรษฐกิจ โดยนาไปใช้เพื่อการบริโภคทั้งภายในประเทศและเพื่อการส่งออก รวมถึงการผลิตเมล็ดพันธุ์เพื่อนาไปเพาะปลูก    
พื้นฐานของการจัดการโรคพืชที่ดีคือการใช้ต้นกล้าพืชที่ปราศจากโรค ซึ่งทาให้พืชสามารถเจริญเติบโตและมีความแข็งแรง ทาให้ศัตรูพืชที่เกิดขึ้นในภายหลังเข้าทาลายพืชได้ยากขึ้น อย่างไรก็ตามผลิตผลของพืชเหล่านี้มักเกิดปัญหาจากโรคพืชทั้งก่อนและหลังการเก็บเกี่ยว การจัดการที่เกิดขึ้นในช่วงก่อนการเก็บเกี่ยวจะมีผลโดยตรงต่อคุณภาพผลผลิต และโรคที่เกิดกับเมล็ดพันธุ์ เชื้อราหลายชนิดสามารถเข้าทาลายเมล็ดพันธุ์เหล่านี้ได้ จึงมีความจาเป็นในการเรียนรู้เกี่ยวกับลักษณะอาการโรคและเชื้อสาเหตุ เพื่อลดการแพร่กระจายของเชื้อสาเหตุ และตัดแหล่งสะสมเชื้อออกไป นอกไปจากนี้การเรียนรู้ลักษณะเชื้อสาเหตุที่แท้จริงจะสามารถช่วยควบคุมโรคที่เกิดขึ้นได้ถูกต้องและแม่นยายิ่งขึ้น    
เนื่องจากประเทศไทยอยู่ในเขตร้อนชื้น ดังนั้นปัญหาของศัตรูพืชบางชนิดจะพบอยู่อย่างสม่าเสมอ ผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์นอกจากจะต้องมีความสามารถในการจัดการพื้นที่ แปลงผลิตที่ดีแล้ว ทักษะในการตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์จึงเป็นสิ่งที่จาเป็น การอบรมในครั้งนี้จะเป็นการเสนอแนะให้ผู้เข้ารับการอบรมได้มีประสบการณ์ในการตรวจสอบโรคพืชที่เกิดในเมล็ดพันธุ์ และเชื้อที่พบในระหว่างการผลิตเมล็ดพันธุ์ ซึ่งเชื้อราที่เกิดขึ้นทั้งก่อนและหลังการเก็บเกี่ยวต่างมีความสาคัญในกระบวนการผลิตเมล็ดพันธุ์ทั้งสิ้น    
   
2. วัตถุประสงค์ของโครงการ    
เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเรียนรู้วิธีการในการตรวจสอบโรคบนเมล็ดพันธุ์ และการจาแนกเชื้อราสาเหตุที่เกิดบนเมล็ดพันธุ์ ข้าว ข้าวโพด และพริก ได้อย่างถูกต้อง    
   
3. ผลที่คาดว่าจะได้รับ    
ผู้เข้าอบรมมีความรู้ที่สามารถนาไปใช้ในหน้าที่การทางานหรือสามารถนาไปสร้างเสริมการบริการแก่สาธารณะชน โดยใช้พื้นฐานในการตรวจสอบเชื้อราด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง    
   
4. คุณสมบัติ / เงื่อนไข ของผู้เข้ารับการฝึกอบรม    
ผู้ที่มีความสนใจด้านเชื้อราที่เป็นสาเหตุของโรคเมล็ดพันธุ์ นิสิตนักศึกษา หรือผู้ที่มีความสนใจทั่วไป    
   
5. จานวนผู้เข้ารับการอบรม    
15 คน    
   
6. ระยะเวลาในการอบรม    
2 วัน    
   
7. สถานที่ฝึกอบรม    
ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน อ. กาแพงแสน จ.นครปฐม 73140    
   
8. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ    
ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้และความเข้าใจเรื่องการตรวจวินิจฉัยโรคเมล็ดพันธุ์ได้อย่างถูกต้อง    
   
9. การประเมินผลการอบรม    
โดยให้ผู้เข้ารับการอบรมกรอกแบบประเมินดังต่อไปนี้    
1. แบบทดสอบความรู้และความเข้าใจเรื่องการตรวจวินิจฉัยโรคพืชก่อนและหลังการฝึกอบรม    
2. แบบประเมินความพึงพอใจของผู้เข้ารับการฝึกอบรม    
   
10. ดัชนีชี้วัดความสาเร็จโครงการ    
1. ผู้เข้ารับการอบรมผ่านการทดสอบความรู้ความเข้าใจเรื่องการตรวจวินิจฉัยโรคเมล็ดพันธุ์ในระดับคะแนนตั้งแต่ 70% ขึ้นไป อย่างน้อย 3 ใน 4 ของผู้เข้ารับการอบรมทั้งหมด    
2. ผู้เข้ารับการอบรมอย่างน้อย 3 ใน 4 ของผู้เข้ารับการอบรมทั้งหมด มีความพึงพอใจต่อโครงการฝึกอบรมอยู่ในระดับดี่    
   
11. ค่าฝึกอบรม 1,000 บาท    
   
12. การรับสมัคร    
1.ผู้สนใจสามารถติดต่อขอทราบรายละเอียดการฝึกอบรม และสมัครได้ที่่    
- ธุรการภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน อ. กาแพงแสน จ.นครปฐม 73140 โทรศัพท์ 034-351890 โทรสาร 034-351890    
- ติดต่อที่ คุณนวรัตน์ อิ่มจิตร โทรศัพท์: 086-6177265 หรือ คุณวรานันท์ วิญญรัตน์ โทรศัพท์ : 0810062967    
ตั้งแต่บัดนี้จนถึงวันที่ 25 มีนาคม 2554    
2. ทางไปรษณีย์ธนาณัติ สั่งจ่ายคุณนวรัตน์ อิ่มจิตร ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน อ. กาแพงแสน จ.นครปฐม 73140 ปณ. กาแพงแสน    
ตั้งแต่บัดนี้จนถึงวันที่ 25 มีนาคม 2554    
3. สาหรับท่านที่ต้องการพักค้างคืนที่วิทยาเขต ผู้จัดได้สารองห้องพัก ภายใน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสนไว้ เป็นห้องพักคู่ ปรับอากาศ อัตราห้องละ 600 บาท/คืน    
   
ที่มา http://www.ku.ac.th

กาหนดการฝึกอบรม    
โรคของเมล็ดพันธุ์ในพืชอุตสาหกรรม (Seed pathology for industrial crops)    
   
วันอังคาร 29 มีนาคม 2554    
08.30-08.50 น. ลงทะเบียน    
08.50-09.00 น. พิธีเปิดการฝึกอบรม โดย ศ.ดร. จริงแท้ ศิริพานิช    
09.00-10.00 น. การบรรยายเรื่อง “ความสาคัญของโรคเมล็ดพันธุ์ที่เกิดจากเชื้อรา” โดย ดร.ชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล    
10.00-11.30 น. การบรรยายเรื่อง “โครงสร้างของเชื้อราสาเหตุโรคเมล็ดพันธุ์ โดย ผศ.ดร. รัติยา พงศ์พิสุทธา    
11.30-12.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน    
12.00-13.30 น. การบรรยายเรื่อง “โรคแบคทีเรียและโรคไวรัสที่สาคัญของเมล็ดพันธุ์” โดย ผศ.ดร. พิสสวรรณ เจียมสมบัติ    
13.30-14.30 น. ปฏิบัติการ “โรคแบคทีเรียและโรคไวรัสที่สาคัญของเมล็ดพันธุ์” โดย ผศ.ดร. พิสสวรรณ เจียมสมบัติ    
14.30-14.45 น. พักรับประทานอาหารวาง่    
14.45-15.45 น. การบรรยายเรื่อง “โรคข้าวโพดและการตรวจสอบ” โดย อาจารย์รณภพ บรรเจิดเชิดชู    
15.45-17.00 น. ปฏิบัติการ “การตรวจเชื้อราสาเหตุโรคข้าวโพด” โดย อาจารย์รณภพ บรรเจิดเชิดชู ผศ.ดร. รัติยา พงศ์พิสุทธา และ ดร.ชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล    
   
วันพุธ 30 มีนาคม 2554    
9.00-10.30 น. การบรรยายเรื่อง “โรคข้าวและการตรวจสอบ” โดย ดร. ชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล    
10.30-10.45 น. พักรับประทานอาหารวาง่    
10.45-12.15 น. การบรรยายเรื่อง “โรคสาคัญของพริกที่เกิดจากเชื้อรา” โดย ผศ.ดร. รัติยา พงศ์พิสุทธา    
12.45-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน    
13.00-14.00 น. ปฏิบัติการ “การตรวจเชื้อราสาเหตุโรคข้าว” โดย ดร. ชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล อาจารย์รณภพ บรรเจิดเชิดชู และ ผศ.ดร. รัติยา พงศ์พิสุทธา    
14.00-15.00 น. ปฏิบัติการ “การตรวจเชื้อราสาเหตุโรคพริก” โดย ผศ.ดร. รัติยา พงศ์พิสุทธา อาจารย์รณภพ บรรเจิดเชิดชู และ ดร. ชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล    
15.00-15.15 น. พักรับประทานอาหารวาง่    
15.15-15.45 น สอบปฏิบัติการเชื้อราที่เป็น unknown โดย ผศ.ดร. รัติยา พงศ์พิสุทธา อาจารย์รณภพ บรรเจิดเชิดชู และ ดร. ชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล    
15.45-16.15 พิธีปิดและมอบประกาศนียบัตร โดย หัวหน้าภาควิชาโรคพืช

คำสำคัญ: