
ชื่อสินค้า:
สารจับใบสำหรับชีวภัณฑ์ ขนาด 0.5 L
รหัส:
271357
ประเภท:
ราคา:
250.00 บาท
ที่อยู่ร้าน:
อ.ดอนตูม จ.นครปฐม
ร้านนี้ยังไม่มีการแจ้งเลขทะเบียนพานิชย์
เปิดร้านมาแล้ว 8 ปี 1 เดือน
ปุ่มติดต่อ:
คำเตือน: โปรดตรวจสอบความน่าเชื่อถือของร้าน เพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต การขอชำระเงินปลายทางเมื่อรับสินค้าถือเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ดี
รายละเอียด
ทำไมต้องใช้สารจับใบที่มีสารคีเลทเป็นส่วนประกอบ
สารจับใบทำหน้าที่ ช่วยในการยึดเกาะพื้นผิว ทำให้น้ำแผ่กว้าง จับใบแล้วดูดซึมเข้าสู่ใบ กิ่ง ก้าน ต้น และผลได้ดีและเร็วขึ้น ทำให้ละอองน้ำยามีขนาดเล็ก กระจายทั่วต้นได้ดี และแห้งเร็วกว่าปกติเป็นการ ทำให้ปุ๋ย ฮอร์โมน และยาเคมีได้แสดงประสิทธิภาพที่เรียกได้ว่าเต็มๆ100% ลดการสูญเสียของสารอินทรีย์ทางการเกษตร เนื่องการการชะล้างของฝนหรือน้ำ ช่วยรักษาอุปกรณ์พ่นยา ป้องกันการอุดตันของหัวฉีด
คุณสมบัติของสารจับใบทั่วไป
1. ลดการสูญเสียของสารละลายที่ฉีดพ่นจากการชะล้างของฝน และ ลดการปลิวไปกับลม จากคุณสมบัติ “แผ่กระจาย” ของสารจำใบ จะทำให้น้ำที่มีส่วนผสมของสารเคมีทางการเกษตรเปียกทั่วใบของพืช ทำให้เพิ่มพื้นที่สัมผัสของสารเคมีเกษตรกับใบหรือส่วนต่าง ๆ ของพืชมากขึ้น และจากคุณสมบัติของ “การจับติด” จึงช่วยลดการชะล้างของฝนที่ตกภายหลังการพ่นสารเคมีแล้ว โดยเฉพาะการใช้สารกำจัดวัชพืชประเภทดูดซึมบางชนิดที่ต้องการระยะเวลาปลอดฝน 6 - 8 ชั่วโมง
2. ลดการสูญเสียของสารเคมีที่เกิดจากการฉีดพ่นซ้ำ ๆ ที่เดิม จำเป็นที่จะต้องฉีดพ่นสารเคมีเกษตรจนใบของพืชเปียกโชก เพราะสารเคมีเกษตร ส่วนที่เกินความจำเป็นจะรวมกันเป็นหยดแล้วไหลตกลงสู่ดิน อันเป็นการสูญเปล่าอย่างมากมาย และเมื่อเกษตรกรนำไปฉีดพ่นลงบนใบพืชแล้วจะสามารถสังเกตเห็นการจับติดใบพืช ของละอองสารเคมีเกษตรบนใบพืชได้ด้วยตาเปล่า
3. ลดการสูญเสียของละอองสารเคมีเกษตรที่ไม่สามารถจับติดใบพืช และตัวแมลง ละอองสารเคมีเกษตรที่ฉีดพ่นไปนั้น ไม่สามารถจับติดผิวใบพืชบางชนิดได้ ทั้งนี้เนื่องมาจากใบพืชนั้นมีขน เช่น หญ้าคา หญ้าขน ฯลฯ จะช่วยลดแรงตึงผิวของละอองน้ำ ทำให้สารเคมีเกษตรที่ฉีดพ่นแนบติดกับพื้นผิวพืชได้ดีขึ้น เปียกทั่วใบพืชอย่างรวดเร็วและสม่ำเสมอ จึงสามารถเปียกตัวแมลงศัตรูพืชได้หลายชนิด เช่น แมลงปีกแข็ง และหนอนต่าง ๆ ที่มีผิวมันหรือที่มีขน และยังช่วยเสริมให้ปุ๋ยทางใบและสารอาหารเสริมของพืชสามารถจับติดใบพืช และถูกดูดซึมเข้าสู่พืชได้เพิ่มมากขึ้น
ปกติแล้วพืชจะมีการสร้างไขมันเคลือบใบ และพบในพืชบางชนิดจะเคลือบอยู่ที่ผิวของผลไม้ใบไม้และก้าน ทำหน้าที่ป้องกันการสูญเสียน้ำของพืช ป้องกันการทำลายจากเชื้อราและแมลงศัตรูพืชขนาดเล็ก ป้องกันความร้อนและรังสี แต่สารจับใบบางชนิดใช้เคมีกำจัดคราบไขมันผสมอยู่ในปริมาณมากเมื่อผสมใช้ สารเคมีเหล่านั้นจะทำลายไขมันพืชทำให้ใบพืชถูกทำลายและเสียหายในเวลาต่อมาเมื่อใช้ต่อเนื่อง เชื้อโรคพืชจึงเข้าทำลายได้ง่ายเนื่องจากระบบป้องตัวของพืชกันถูกทำลายไปแล้ว แต่หมึกยักษ์ดำมีส่วนผสมของคีเลทจากธรรมชาติทำให้สารต่างๆที่เป็นเคมี ปุ๋ยหรือฮอร์โมนพืชซึมผ่านชั้นไขมันพืชอย่างง่ายดายโดยไม่ทำลายไขมันบนใบพืช
โดยปกติแล้วการใช้สารจับใบเพื่อให้ตัวสารเคมีหรือเชื้อชีวภัณฑ์ที่ใช้เกาะติดใบ กิ่ง ก้าน พืช ผล ดอก รวมถึงพื้นดิน หรือตัวแมลงในกรณีที่เกษตรกรใช้สารชีวภัณฑ์ในการทำลายแมลงศัตรูพืช แมลงบางชนิดปีกจะมีไขมันสูงทำให้สารชีวภัณฑ์ไม่สามารถจับยึดกับแมลงเป้าหมายได้และแมลงศัตรูพืชชนิดที่มีปีกบินจะสลัดเชื้อชีวภัณฑ์ให้หลุดออกไปได้
หมึกยักษ์ดำจะช่วยลดปริมาณการการใช้สารชีวภัณฑ์เนื่องจากสารจับใบช่วยให้น้ำที่มีสารชีวภัณฑ์ผสมอยู่กระจายตัวเป็นละอองหมอกได้ดี ทำให้เชื้อชีวภัณฑ์เข้ายึดเกาะเป้าหมายได้ดี เชื้อราและแบคทีเรียหรือกลุ่มสารชีวภัณฑ์ เป็นสิ่งมีชีวิตการที่เกษตรกรใช้น้ำยาล้างจานซึ่งมีสารกันบูดสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของชีวภัณฑ์หรือใช้สารจับใบที่มีเคมีในกลุ่มสารกำจัดคราบไขมันที่รุนแรงนอกจากจะทำให้ใบพืชไหม้แล้วก็ยังมีผลต่อชีวภัณฑ์เช่นกัน จนบางครั้งเกษตรกรอาจคิดว่าชีวภัณฑ์ไม่ดีหรือเปล่า หมึกยักษ์ดำช่วยในการจับยึดและกระจายตัวของชีวภัณฑ์ได้ดีเยี่ยม ช่วยให้ประหยัดการใช้ชีวภัณฑ์ 30-40%ปลอดภัยไม่มีสารเคมีทำลายสารชีวภัณฑ์
ใช้ได้ดีเยี่ยมในกรณีผสมในน้ำฉีดร่วมกับฮอร์โมนพืชในกลุ่มออร์แกนิค ปลอดสารพิษ
ใช้ได้ดีเยี่ยมในกรณีผสมในน้ำฉีดร่วมกับสารเคมีผง สารเคมีกำจัดแมลงชนิดน้ำข้น และชนิดที่มีน้ำมันเป็นส่วนผสม
ช่วยให้น้ำกระจายตัวเป็นละอองหมอกได้ดีเยี่ยม จับยึดแน่น ติดทนนาน
ในกรณีที่เกษตรกรใช้สารเคมี เช่น ยาฆ่าแมลง ยากำจัดเชื้อรา ยาฆ่าหญ้า แนะนำให้ใช้น้ำยาล้างจานแทนได้
สารจับใบ ชีวภาพ สารจับใบ คือสารจับใบ ราคา จำหน่าย สาร จับ ใบ
สารเสริมประสิทธิภาพ หมึกยักษ์ดำ
สารเสริมประสิทธิภาพ ชนิดเข้มข้น สำหรับผสมน้ำฉีดพ่นร่วมกับชีวภัณฑ์ต่างๆ เช่น เชื้อราไตรโคเดอร์มา บิววาเรีย บาซิลลัส เชื้อจุลินทรีย์เชื้อแบคทีเรีย รวมไปถึงไวรัสบางชนิด
มีคุณสมบัติเป็นสารประเภทลดแรงตึงผิวจึงช่วยให้สารชีวภัณฑ์ต่างๆ เปียกพื้นผิวได้ง่าย กระจายตัวได้ดีขึ้น สามารถควบคุมพื้นที่บนใบพืช กิ่ง ก้าน ดอกและผลได้อย่างทั่วถึง บนผิวใบทำให้พืชได้รับประสิทธิผลจากการใช้สารชีวภัณฑ์ทางการเกษตรสูงสุด
เร่งการแทรกซึมน้ำลงสู่ดิน กรณีที่ดินมีการอัดตัวเป็นดินแข็งน้ำซึมผ่านยาก สามารถลดแรงตึงผิวของน้ำและทำให้ดินมีความเปียกมากขึ้น
ช่วยให้สารชีวภัณฑ์สำหรับการเกษตรละลายน้ำได้ดีขึ้นและช่วยให้สารกระจายตัวอยู่ในน้ำอย่างสม่ำเสมอ
ช่วยให้สารชีวภัณฑ์ยึดเกาะตัวหนอน แมลงศัตรูพืชทั้งชนิดที่มีปีกและไม่มีปีกได้นานพอที่เชื้อชีวภัณฑ์จะสามารถเจาะทำทำลายตัวแมลงได้
ชนิดของสารชีวภัณฑ์
อัตราการใช้
/น้ำ20ลิตร
กลุ่มเชื้อรา(mold)บิวเวอร์เรีย,ไตรโคเดอร์มา,เมธาไรเซียม,พาซิโลมัยซิสฯลฯ
3-5 ซีซี
กลุ่มเชื้อแบคทีเรีย (bacteria)บาซิลลัส ฯลฯ
2-5 ซีซี
กลุ่มเชื้อไวรัส(virus) เอ็น พี วี ฯลฯ
2-3 ซีซี
กลุ่มเชื้อจุลินทรีย์ น้ำหมักชีวภาพ น้ำจุลินทรีย์ น้ำมูลไส้เดือน,ไส้เดือนฝอยสไตเนอร์นีม่า ฯลฯ
3-6 ซีซี
สอบถามรายล่ะเอียดเพิ่มเติม www.kasetkawna.com หรือติดต่อ Line id:@kaset แก้ไขข้อมูลเมื่อ 10 Feb 23 07:19
สารจับใบทำหน้าที่ ช่วยในการยึดเกาะพื้นผิว ทำให้น้ำแผ่กว้าง จับใบแล้วดูดซึมเข้าสู่ใบ กิ่ง ก้าน ต้น และผลได้ดีและเร็วขึ้น ทำให้ละอองน้ำยามีขนาดเล็ก กระจายทั่วต้นได้ดี และแห้งเร็วกว่าปกติเป็นการ ทำให้ปุ๋ย ฮอร์โมน และยาเคมีได้แสดงประสิทธิภาพที่เรียกได้ว่าเต็มๆ100% ลดการสูญเสียของสารอินทรีย์ทางการเกษตร เนื่องการการชะล้างของฝนหรือน้ำ ช่วยรักษาอุปกรณ์พ่นยา ป้องกันการอุดตันของหัวฉีด
คุณสมบัติของสารจับใบทั่วไป
1. ลดการสูญเสียของสารละลายที่ฉีดพ่นจากการชะล้างของฝน และ ลดการปลิวไปกับลม จากคุณสมบัติ “แผ่กระจาย” ของสารจำใบ จะทำให้น้ำที่มีส่วนผสมของสารเคมีทางการเกษตรเปียกทั่วใบของพืช ทำให้เพิ่มพื้นที่สัมผัสของสารเคมีเกษตรกับใบหรือส่วนต่าง ๆ ของพืชมากขึ้น และจากคุณสมบัติของ “การจับติด” จึงช่วยลดการชะล้างของฝนที่ตกภายหลังการพ่นสารเคมีแล้ว โดยเฉพาะการใช้สารกำจัดวัชพืชประเภทดูดซึมบางชนิดที่ต้องการระยะเวลาปลอดฝน 6 - 8 ชั่วโมง
2. ลดการสูญเสียของสารเคมีที่เกิดจากการฉีดพ่นซ้ำ ๆ ที่เดิม จำเป็นที่จะต้องฉีดพ่นสารเคมีเกษตรจนใบของพืชเปียกโชก เพราะสารเคมีเกษตร ส่วนที่เกินความจำเป็นจะรวมกันเป็นหยดแล้วไหลตกลงสู่ดิน อันเป็นการสูญเปล่าอย่างมากมาย และเมื่อเกษตรกรนำไปฉีดพ่นลงบนใบพืชแล้วจะสามารถสังเกตเห็นการจับติดใบพืช ของละอองสารเคมีเกษตรบนใบพืชได้ด้วยตาเปล่า
3. ลดการสูญเสียของละอองสารเคมีเกษตรที่ไม่สามารถจับติดใบพืช และตัวแมลง ละอองสารเคมีเกษตรที่ฉีดพ่นไปนั้น ไม่สามารถจับติดผิวใบพืชบางชนิดได้ ทั้งนี้เนื่องมาจากใบพืชนั้นมีขน เช่น หญ้าคา หญ้าขน ฯลฯ จะช่วยลดแรงตึงผิวของละอองน้ำ ทำให้สารเคมีเกษตรที่ฉีดพ่นแนบติดกับพื้นผิวพืชได้ดีขึ้น เปียกทั่วใบพืชอย่างรวดเร็วและสม่ำเสมอ จึงสามารถเปียกตัวแมลงศัตรูพืชได้หลายชนิด เช่น แมลงปีกแข็ง และหนอนต่าง ๆ ที่มีผิวมันหรือที่มีขน และยังช่วยเสริมให้ปุ๋ยทางใบและสารอาหารเสริมของพืชสามารถจับติดใบพืช และถูกดูดซึมเข้าสู่พืชได้เพิ่มมากขึ้น
ปกติแล้วพืชจะมีการสร้างไขมันเคลือบใบ และพบในพืชบางชนิดจะเคลือบอยู่ที่ผิวของผลไม้ใบไม้และก้าน ทำหน้าที่ป้องกันการสูญเสียน้ำของพืช ป้องกันการทำลายจากเชื้อราและแมลงศัตรูพืชขนาดเล็ก ป้องกันความร้อนและรังสี แต่สารจับใบบางชนิดใช้เคมีกำจัดคราบไขมันผสมอยู่ในปริมาณมากเมื่อผสมใช้ สารเคมีเหล่านั้นจะทำลายไขมันพืชทำให้ใบพืชถูกทำลายและเสียหายในเวลาต่อมาเมื่อใช้ต่อเนื่อง เชื้อโรคพืชจึงเข้าทำลายได้ง่ายเนื่องจากระบบป้องตัวของพืชกันถูกทำลายไปแล้ว แต่หมึกยักษ์ดำมีส่วนผสมของคีเลทจากธรรมชาติทำให้สารต่างๆที่เป็นเคมี ปุ๋ยหรือฮอร์โมนพืชซึมผ่านชั้นไขมันพืชอย่างง่ายดายโดยไม่ทำลายไขมันบนใบพืช
โดยปกติแล้วการใช้สารจับใบเพื่อให้ตัวสารเคมีหรือเชื้อชีวภัณฑ์ที่ใช้เกาะติดใบ กิ่ง ก้าน พืช ผล ดอก รวมถึงพื้นดิน หรือตัวแมลงในกรณีที่เกษตรกรใช้สารชีวภัณฑ์ในการทำลายแมลงศัตรูพืช แมลงบางชนิดปีกจะมีไขมันสูงทำให้สารชีวภัณฑ์ไม่สามารถจับยึดกับแมลงเป้าหมายได้และแมลงศัตรูพืชชนิดที่มีปีกบินจะสลัดเชื้อชีวภัณฑ์ให้หลุดออกไปได้
หมึกยักษ์ดำจะช่วยลดปริมาณการการใช้สารชีวภัณฑ์เนื่องจากสารจับใบช่วยให้น้ำที่มีสารชีวภัณฑ์ผสมอยู่กระจายตัวเป็นละอองหมอกได้ดี ทำให้เชื้อชีวภัณฑ์เข้ายึดเกาะเป้าหมายได้ดี เชื้อราและแบคทีเรียหรือกลุ่มสารชีวภัณฑ์ เป็นสิ่งมีชีวิตการที่เกษตรกรใช้น้ำยาล้างจานซึ่งมีสารกันบูดสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของชีวภัณฑ์หรือใช้สารจับใบที่มีเคมีในกลุ่มสารกำจัดคราบไขมันที่รุนแรงนอกจากจะทำให้ใบพืชไหม้แล้วก็ยังมีผลต่อชีวภัณฑ์เช่นกัน จนบางครั้งเกษตรกรอาจคิดว่าชีวภัณฑ์ไม่ดีหรือเปล่า หมึกยักษ์ดำช่วยในการจับยึดและกระจายตัวของชีวภัณฑ์ได้ดีเยี่ยม ช่วยให้ประหยัดการใช้ชีวภัณฑ์ 30-40%ปลอดภัยไม่มีสารเคมีทำลายสารชีวภัณฑ์
ใช้ได้ดีเยี่ยมในกรณีผสมในน้ำฉีดร่วมกับฮอร์โมนพืชในกลุ่มออร์แกนิค ปลอดสารพิษ
ใช้ได้ดีเยี่ยมในกรณีผสมในน้ำฉีดร่วมกับสารเคมีผง สารเคมีกำจัดแมลงชนิดน้ำข้น และชนิดที่มีน้ำมันเป็นส่วนผสม
ช่วยให้น้ำกระจายตัวเป็นละอองหมอกได้ดีเยี่ยม จับยึดแน่น ติดทนนาน
ในกรณีที่เกษตรกรใช้สารเคมี เช่น ยาฆ่าแมลง ยากำจัดเชื้อรา ยาฆ่าหญ้า แนะนำให้ใช้น้ำยาล้างจานแทนได้
สารจับใบ ชีวภาพ สารจับใบ คือสารจับใบ ราคา จำหน่าย สาร จับ ใบ
สารเสริมประสิทธิภาพ หมึกยักษ์ดำ
สารเสริมประสิทธิภาพ ชนิดเข้มข้น สำหรับผสมน้ำฉีดพ่นร่วมกับชีวภัณฑ์ต่างๆ เช่น เชื้อราไตรโคเดอร์มา บิววาเรีย บาซิลลัส เชื้อจุลินทรีย์เชื้อแบคทีเรีย รวมไปถึงไวรัสบางชนิด
มีคุณสมบัติเป็นสารประเภทลดแรงตึงผิวจึงช่วยให้สารชีวภัณฑ์ต่างๆ เปียกพื้นผิวได้ง่าย กระจายตัวได้ดีขึ้น สามารถควบคุมพื้นที่บนใบพืช กิ่ง ก้าน ดอกและผลได้อย่างทั่วถึง บนผิวใบทำให้พืชได้รับประสิทธิผลจากการใช้สารชีวภัณฑ์ทางการเกษตรสูงสุด
เร่งการแทรกซึมน้ำลงสู่ดิน กรณีที่ดินมีการอัดตัวเป็นดินแข็งน้ำซึมผ่านยาก สามารถลดแรงตึงผิวของน้ำและทำให้ดินมีความเปียกมากขึ้น
ช่วยให้สารชีวภัณฑ์สำหรับการเกษตรละลายน้ำได้ดีขึ้นและช่วยให้สารกระจายตัวอยู่ในน้ำอย่างสม่ำเสมอ
ช่วยให้สารชีวภัณฑ์ยึดเกาะตัวหนอน แมลงศัตรูพืชทั้งชนิดที่มีปีกและไม่มีปีกได้นานพอที่เชื้อชีวภัณฑ์จะสามารถเจาะทำทำลายตัวแมลงได้
ชนิดของสารชีวภัณฑ์
อัตราการใช้
/น้ำ20ลิตร
กลุ่มเชื้อรา(mold)บิวเวอร์เรีย,ไตรโคเดอร์มา,เมธาไรเซียม,พาซิโลมัยซิสฯลฯ
3-5 ซีซี
กลุ่มเชื้อแบคทีเรีย (bacteria)บาซิลลัส ฯลฯ
2-5 ซีซี
กลุ่มเชื้อไวรัส(virus) เอ็น พี วี ฯลฯ
2-3 ซีซี
กลุ่มเชื้อจุลินทรีย์ น้ำหมักชีวภาพ น้ำจุลินทรีย์ น้ำมูลไส้เดือน,ไส้เดือนฝอยสไตเนอร์นีม่า ฯลฯ
3-6 ซีซี
สอบถามรายล่ะเอียดเพิ่มเติม www.kasetkawna.com หรือติดต่อ Line id:@kaset แก้ไขข้อมูลเมื่อ 10 Feb 23 07:19
คำสำคัญ:
สารจับใบ
สารชีวภาพกำจัดศัตรูพืช